ขอให้ชาวนครพนม คัดค้านการนำเอาพระธาตุพนม ไปประดับบนยอดหลังคาอาคารด่านศุลกากรนครพนม ที่สะพานข้ามแม่น้ำโขงแห่งที่ 3 จังหวัดนครพนม

วันพฤหัสบดีที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2554

บ้านกลางโนนตาล ท่าอุเทน " เมืองหลวงแห่งการปั้นครกดินเผา " ของจังหวัดนครพนม










ป้ายหมดอายุ






ที่ตั้งของสหกรณ์กลุ่มเครื่องปั้นดินเผาบ้านโนนตาล 
ณ บ้านกลาง หมู่ที่ 1 ตำบลโนนตาล อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม






  ศูนย์เครื่องปั้นดินเผาบ้านโนนตาล บ้านกลาง หมู่ 1 ตำบลโนนตาล อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม


การนวดดิน ถือเป็นเรื่องสำคัญพอๆกับการปั้นครก ในวันนี้นิยมใช้เครื่องรีดดินแทนแรงงานคน


การปั้นต้องอาศัยแป้นหมุนด้วยมอเตอร์



ผลิตภัณฑ์ของสหกรณ์กลุ่มเครื่องปั้นดินเผาบ้านโนนตาล





ภายในสหกรณ์กลุ่มเครื่องปั้นดินเผาบ้านโนนตาล



ปล่องเตาเผาครก


เตาเผาโบราณ


ฟืนเป็นสิ่งที่จำเป็นที่สุด ในขบวนการผลิตครก








เครื่องรีดดินด้วยเครื่องรถไถนา  หัวคิดตามภูมิปัญญาของชาวบ้านกลาง



ทุกบ้านที่มีอาชีพปั้นครก จะต้องเตรียมดินโดยการ " ตีดิน " เสียก่อน





การเผาครก ก็ยังใช้วิธีการเผาในเตาเผาแบบดั้งเดิม



วัดกองมณีบ้านกลาง




บ้านของวรรณา อรรคนิตย์


การปั้นครกทุกวันนี้ วิธีการก็เหมือนเดิมทุกประการ ยกเว้นแต่แป้นหมุนที่ใช้มอเตอร์ช่วยผ่อนแรง



การปั้นครก จะต้องมีผู้ช่วยคอยเตรียมดินให้และคอยยก " ครก " ที่ปั้นเสร็จออกจากแป้นหมุน


การปั้นครก ของครอบครัวนี้ถือเป็นอาชีพที่มั่นคงและทำรายได้เป็นที่น่าพอใจ


วันศุกร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2554

งานทอเสื่อ " ผือ " ที่บ้านพะทาย อำเภอท่าอุเทน จังหวัดนครพนม


การทอเสื่อจากต้นผือ  เป็นงานที่ชาวบ้านพะทายทำกันทั้งปีควบไปกับการทำนาด้วย


ไม่อาจพูดได้ว่าการทอเสื่อเป็นงานเสริมการทำนา  น่าจะเป็นงานที่ทำกันตามปรกติมากกว่า


การทอเสื่อผือนี้  ทำกันแทบจะทุกหลังคาเรือนทีเดียว


การทอเสื่อต้องมีผู้ช่วยส่งเส้นผือ


ลวดลายเรียบง่ายตรงไปตรงมาของเสื่อที่ชาวบ้านเขาทอตามความคุ้นเคย  รวมทั้งราคาที่ไม่แพงทำให้เสื่อบ้านพะทายเป็นที่น่าสนใจ  ว่ายังมีโอกาศที่จะเพิ่มมูลค่าเข้าไปได้อีก  ขึ้นกับว่า  ใครจะช่วยได้


  คิดว่าต่อไป ทาง อบต.น่าจะพิจารณาช่วยเหลือการพัฒนารูปแบบเพื่อเพิ่มมูลค่าของเสื่อผือพะทายนี้  และน่าจะมีการจัดตั้งเป็นกลุ่มวิสาหกิจชุมชน หรือ สหกรณ์ เพื่อให้งานทอเสื่อมีความมั่นคงมากกว่านี่